Donate

วันพฤหัสบดีที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2553

รวมสูตรพื้นฐานทางด้านไฟฟ้า

ระบบหน่วยในระบบ SI
ชื่อ
สัญลักษณ์
ตัวคูณ
Giga G 109
Mega M 106
kilo k 103
centi c 10-2
milli m 10-3
micro µ 10-6
nano n 10-9
pico p 10-12
ประจุไฟฟ้า (Charge) ประจุที่ใช้ในกระแสคือ ประจุลบของอิเล็คตรอน ซึ่งมีค่าประจุ ; q = 1.60218x10-19 (c : coulomb)
i = Dq/Dt
กระแสไฟฟ้าโดยทั่วไปจะใช้หน่วย "แอมแปร์" (Ampere : A) โดย 1 แอมแปร์ กำหนดให้มีค่าเท่ากับ 1 c/s (หนึ่งคูลอมป์ต่อวินาที) และกระแสไฟฟ้าจะมีทิศทางการไหลไปทางเดียว
แรงดันไฟฟ้า (Voltage) คือค่าความต่างศักดาทางไฟฟ้าของจุดสองจุดในวงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไหลผ่าน มีหน่วยเป็น "โวลต์เทจ" (Voltage : V)
กำลังไฟฟ้า (Power) คือ ผลคูณของกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่อุปกรณ์ใดๆ ในวงจรไฟฟ้ามีหน่วยเป็น "วัตต์" (Wat : W)
P = IV = I2R = V2/R
กฏของโอห์ม (Ohm's Law)
E = IR    E = แรงดันที่ตกคร่อม (โวลท์ : V)
R = E/I    I = กระแสที่ไหลผ่าน (แอมป์ : A)
I = E/R    R = ค่าความต้านทาน (โอห์ม : W )
ตัวต้านทาน (Resister : R)
R = rL/A        (W)
R = ค่าความต้านทาน (โอห์ม : W)
L = ความยาว
A = พื้นที่หน้าตัด
r = ค่าความต้านทานจำเพาะ (W.cm)
clip_image001RN = 1/RT = 1/R1 + 1/R2 + ... + 1/RN

clip_image002RT = R1 = R2 + ... + RN
กำลังไฟฟ้า (Power)
P = VI = RI2 = V2/R (watt:วัตต์)
clip_image003
Voltage Divider
clip_image004V1 = (R1/(R1+R2))*E
Current Divider
clip_image005I1 = (R2/(R1+R2))*E
Kirchhoff's Law แบ่งได้ 2 สูตร
   - Kirchhoff's current law: KCL
"The sum of the currents entering any node equals the sum of currents leaving the node"
"ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้าจุดร่วมจะมีค่าเท่ากับผลรวมของกระแสที่ไหลออกจุดร่วมเสมอ"
clip_image006 I1 = I2 + I3 = I4
-E + V1 + V2 = 0
       E = V1 + V2
Kirchhoff's voltage law: KVL
"The algebraic sum of the voltage around any closed path is zero"
"ผลรวมของแรงดันในวงจรปิดมีค่าเท่ากับศูนย์"
clip_image007

ตัวเก็บประจุ (Capacitor : C)
clip_image008
C = eA/d (Farad : ฟารัด : F)
C = ค่าความจุหรือค่าคาปาซิแตนซ์ (ฟารัด:Farad:F)
e = ค่าคงที่ไดเล็กทริก
A = พื้นที่หน้าตัดแผ่นโลหะ
d = ระยะห่างระหว่างแผ่นโลหะ


clip_image009CT = C1 + C2 + ... + CN
clip_image0101/CT = 1/C1 + 1/C2 + ... + 1/CN
ค่าความต้านทานทาง AC หรือค่ารีแอคแตนซ์ของ C
Xc = 1/wC = 1/2pfC                 (W)
f= ความถี่ (Hz)
w = ความถี่ (rad/s)
C = ค่าความจุ (ฟารัด)
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor: L)
แกนอากาศ:
clip_image012


L = r2n2/22.9ql + 25.4r      (Henry: H)
n = จำนวนรอบ : สำหรับแกนอากาศ

แกนทั่วไป:
clip_image013
L = 0.4pN2mAx10-2/l
L = ค่าความเหนี่ยวนำ (เฮนรี่:Henry:H)
N = จำนวนรอบ
A = พื้นที่หน้าตัดของแกน (cm2)
l = ความยาวของคอยล์(cm)
m = ค่า permeability ในสูญญากาศของแกน
clip_image014
clip_image015
clip_image016
1/LT = 1/L1 + 1/L2 + ... +1/LN
clip_image017
LT = L1 + L2 + ... +LN
ค่าความต้านทานทาง AC หรือ รีแอคแตนซ์ของ L
XL = wL = 2pฆL     (W)
การแปลงวงจรจาก Y --> D
clip_image018
RAB = RARB/RA + RB + RC
RBC = RBRC/RA + RB + RC
RAC = RARC/RA + RB + RC

การแปลงวงจรจากd ---> Y
clip_image019
RA = RABRCA/RAB + RBC + RCA
RB = RBCRAB/RAB + RBC + RCA
RC = RCARBC/RAB + RBC + RCA

...