Donate

วันศุกร์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

อุปกรณ์UJT

UJT

UJT : เป็นอุปกรณ์ที่ทำ หน้าที่กระตุ้น (Triger) ให้กับ SCR หรือ TRIAC และยังใช้งานในวงจรผลิตความถี่ (OSC) วงจรกำเนิดสัญญาณ ฟันเลื่อย วงจรควบคุมเฟส วงจรหน่วงเวลา

image001
ก. สัญลักษณ์ UJT

image002
ข. โครงสร้างของ UJT

image003
ค. วงจรสมมูลย์

image004
ง. การไบอัส

    • การให้ BIAS B2 ให้มีศักดิ์ (+) เมื่อเทียบกับขา B1
    • มีกระแส IE ไหลหรือมี (VP = VD + VA) UJT จะทำงาน
    • ค่า RBB สภาพ OFF สูง ประมาณ 5K ถึง 10 KOhm ทำให้สูญเสียกำลังงาน น้อย
    • มีกระแสทริกต่ำมากเพียง 2-10 uA

RBB : INTERBASE RESISTANCE

RBB = RB1 + RB2

................( 1 )

RBB ~ 5K - 10KOhm
RB1 > RB2
RB1 : VARIABLE เปลี่ยน ค่าได้ 5K ถึง 50 โอห์ม
RB2 : FIXED คงที่

image005
* RBB เปลี่ยนค่าตามอุณหภูมิ อุณหภูมิสูงขึ้น RBB เพิ่มขึ้น ประมาณ 1% / ํC

VBB = VB1 + VB2

................( 2 )

INTRINSIC STAN-OFF RATIO

n = อิต้า (ETA)

n = RB1 / (RB1+RB2) = RB1 / (RBB

................( 3 )

IE = 0

VA = VRB1 = nVBB

................( 4 )

VA = nVBB = (RB1 x RBB) / RBB

................( 5 )

IE = 0

VP = VD + VA

................( 6 )

VP = VD +n VBB

................( 7 )

* VP เป็น แรงดันสูงสุดที่ทำให้ IE ไหล UJT ทำงาน

POWER DISSIPATION (การสูญเสียกำลังงาน)

VP = (VBB)2 / RBB

................( 8 )

คุณสมบัติ ของ UJT

image006
วงจรทดสอบ

CHARACTERISTIC OF UJT

image007
กราฟแสดงความสัมพันธ์ VE และ IE

กำหนดให้

RBB

=

ความต้านทานภายในของ UJT ระหว่างขา B2 - B1 (RBB = RB1 + RB2) ประมาณ 4K - 10Kohm

VBB

=

แรงดันตกคร่อมขา B2 และ B1

n

=

อัตราส่วนอินทรินซิก สแตนออฟ อยู่ระหว่าง (0.5 - 0.75)

VE - VP

=

เป็นแรงดันป้อนให้ขา E จน ทำให้ DIODE ทำงาน (VP = VD + VA)

VD

=

เป็นแรงดันตกคร่อม DIODE ประมาณ 0.35 - 0.7 V ใน UJT

IE

=

กระแสที่ขา E ของ UJT มีไม่เกิน 50 mA PEAK ประมาณ 2A

IE0

=

ค่ากระแสไบอัสกลับที่ขา E จาก B2 ไป E โดย B1 เปิดวงจร

VV

=

เป็นแรงดันต่ำสุด (VOLLAY POINT) ระหว่างขา E กับ B1

IV

=

คือค่ากระแสที่ไหลในขณะที่แรงดันขา E มี ค่า VV (4 - 6 mA) min ---->

IP

=

คือค่ากระแสที่ขา E ใน ขณะแรงดันมีค่า VP (0.4 - 5 uA)

การนำ UJT ไปใช้งาน

วงจร RELAXATION

image008

R3 : LOAD

[R3 ~ 0.28 RBB / nVBB] -------> ปกนิไม่นิยมต่อ R3 ซี่งทำให้ I ไหลน้อยลง

CURRENT LIMITER

[R3 ~ 0.015 VBB RBBn]

R3 ~ 0.7 VRBB / nVBB] : R3 << R3

หาค่า R1 จากกราฟ

image009

[VR1 + VE = VBB]

IR1 x R1 = VBB - VE

R1(max) = (VBB - VE) / IR1

(VBB - VP) / IP

Rmax < (VBB - VP) / IP

...............( * )

AT THE VOLLAY POINT IE = IV AND VE = VV

VBB = IR1R1 + VE ---------------- (1)

VBB = IVR1 + VV ---------------- (2)

[R1(min) = (VBB - VV) / IV] ---------------- ( * )

R1(min) > (VBB - VV) / IV

---------------- ( * )

VBB - VP) / IP > R1 > VBB - VV) / IV

---------------- ( * )

image010

VP = VD + [{(RB1 / R2) VBB} / (RBB + R2)]

---------------- ( * )

VP ~ VD +n VBB

---------------- ( * )

V0 ขณะ UJT "OFF" (หาแรงดันจากการแบ่งแรงดัน DEVIDER)

image012

V0 ขณะ UJT "ON"

[V0(max) = VR2 = (R2 x VA) / (RRB1 + R2) ]

V0(max) = [R2 x (VP - VD)] / (RRB1 + R2)

---------------- ( * )

image013
รูปคลื่นแรงดันของวงจร

image015

R2(max)<= VGK(min) / IBB

---------------- ( * )

ถ้า R2 มีค่ามากไป แรงดันตกคร่อมจะทำให้ SCR "ON" ตลอดเวลา เพราะฉะนั้น ต้องต่ำกว่า VGK(min)

จาก RBB >> (R2 + R3) ; เมื่อ UJT "ON" RBB ลดลง IBB จะเพิ่มขึ้น

เพราะฉะนั้น

R2(max) ~ [ VGK(min) x RBB] / VBB

---------------- ( * )

EXAMPLE

IF VBB = 25 V , VGK(min) = 0.3 V , n = 0.6 , RBB = 4 KOhm จงหา R2(max) , R3

SOLOTION

[R2(max) ~ [ VGK(min) x RBB] / VBB]

[R2(max) ~ (0.3V x 4K) / 25V = 48 Ohm

R3 ~ 028 RBB / nVBB = (0.28 x 4K) / (0.6 x 25) = 74.6 Ohm

การหาค่า ความถี่ในวงจร RELAXATION OSC

image017

image019

จากรูปคลื่น C สามารถกำหนดได้ดังนี้

VC (CHARGE)

= VV + [(VBB - VV)(1 - et/RC)]
= VV + [(VBB - VV) -(VBB - VV)et/RC]
= VBB - (VBB - VV)et/RC

เมื่อ VC = VP , t = t1

และ [VP = VBB - (VBB - VV)et/RC]

หรือ [(VP - VBB) / (VBB - VV) = -et/RC

และ [et/RC = (VBB - (VP) / (VBB - VV)]

ทำให้ e หมด ไปโดยการใช้ loge หรือ ln

logee-t/RC = loge[(VBB - (VP) / (VBB - VV)]

[-t1/R.C] = loge[(VBB - (VP) / (VBB - VV)]

ทำ ( - ) ให้หมดไป

t1 = RC ln[(VBB - (VV) / (VBB - VP)]

---------------- ( 1 )

เวลาระหว่าง t1 ---> t2

VC(discharge)

= VPe-t/RC

VC

= VPe-t/(RB1+RB2)C

ให้ t1 เทียบเป็น t = 0

(VC = VV) , ให้ (t = t2)

VV

= VPe-t2/(RB1+RB2)C

VV / VPe

= e-t2/(RB1+RB2)C

e-t2/(RB1+RB2)C

= VV / VPe

เพราะฉนั้น ทำ e ให้หมดไปโดยใช้ loge

logee-t2/(RB1+RB2)C

= logeVV / VP

-t2

= (RB1+RB2) .C ln(VV / VP)

ทำ ( - ) ให้ หมดไป กลับเศษ ln เป็นส่วน

t2= (RB1+RB2) .C ln(VP / VV)

...............( 2 )

จาก

T = t1 + t2

และ

FOSC = 1/T = 1/t1 + t2

.............( * )

ถ้าให้

t1 >> t2 เพราะฉนั้น T ประมาณ t1

T = RC ln[(VBB - VV) / (VBB - VP)]

เมื่อ

VBB >> VV

T = RC ln[VBB / (VBB - VP)]

หารด้วย VBB

T = RC ln{ 1 / [1 - (VP / VBB)]}

จาก n = VP / VBB

เพราะฉนั้น

T ~ RC ln[1 / (1 - VBB)]

..............( 3 )

หรือ

f ~ 1 / { RC ln[ 1 / (1 - n)]}

................( 4 )

หมายเหตุ

คาบเวลา

T = RC ln[ 1 / (1 - n)]

................( 1 )

หรือ

T = 2.3 RC log10[1 / (1 - n)]

................( 2 )

ถ้า n = 0.63 จะได้ ln[1 / (1 - n)] ~ 1

T ~ RC

................( 3 )

สำหรับ UJT # 2N2646 , # 2N2647

R3 ~ 10,000 / nVBB

................( 4 )

สำหรับ UJT # 2N489 , # 2N1671A , # 2N2160

R3 ~ [0.4 RBB / n VBB] + { [1 - n) . R2] / n }

................( 5 )

ถ้ามี R3 หาค่า R2 ไปทริก SCR ได้จาก

[R2 / (R3 + RBB + R2)] x VBB <= VGT(min)

................( 6 )

การวัด UJT

    • ตั้งโอห์มมิเตอร์ R x 100 วัดสองขาของ UJT คู่ใดคู่ หนึ่ง

image020

ปรากฎว่า วัดกลับไปกลับมาขึ้นทั้งสองครั้ง

ตัวอย่าง

ขา (2 - 3) เป็นขา B2 หรือ B1 ขาที่เหลือจะเป็นขา E

o นำสาย มิเตอร์สีดำ (ไฟ +) จับขา 1 ขา E เป็นหลัก เพื่อหาขา B2 กับ B1 (Forward Bias)

o (ขา E กับ B2) ความต้านทานจะน้อยกว่าขา B1
(ขา E กับ B1) ความต้านทานจะมากกว่าขา B2

o ถ้าใช้สาย มิเตอร์สีแดง (ไฟ -) วัดขา E กับ B2 , B1 ลักษณะ Reverse Bias เข็ม จะไม่ขึ้น เหมือนกับการวัด DIODE ถ้าเข็มขึ้น แสดงว่า UJT ลีค เสีย

o ถ้าวัดทุก ขาของ UJT ไม่ขึ้นเลยแสดงว่า UJT เสีย

...